ผศ.ดร.ภญ. ใจนุช กาญจนภู

ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายฝึกปฏิบัติงาน

ประวัติการศึกษา 

– ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (สรีรวิทยา) มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. ๒๕๔๘

– เภสัชศาสตรบัณฑิต (เภสัชศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. ๒๕๔๒

ประวัติการทำงานและประสบการณ์

– ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม กรุงเทพมหานคร (พฤษภาคม ๒๕๕๗ – ปัจจุบัน)

– ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม กรุงเทพมหานคร (มีนาคม ๒๕๕๘ – ปัจจุบัน)

– อาจารย์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม กรุงเทพมหานคร (มีนาคม ๒๕๕๒ – ปัจจุบัน)

– อาจารย์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จ.อุบลราชธาน (พฤศจิกายน ๒๕๔๘ – กุมภาพันธ์ ๒๕๕๒)

หนังสือ/ตำรา

ผลงานวิจัย/บทความวิจัย

– ใจนุช กาญจนภู, ระวิวรรณ แก้วอมตะวงศ์, สุภารัตน์ คำแดง, กัลยภัทร ชินทราย, ศิรินุช อุบลวัฒน์ และขวัญเรือน จันดี. การศึกษาฤทธิ์ของสมุนไพรที่มีในตำรับยาสตรีแผนโบราณต่อการหดตัวของมดลูก. ไทยเภสัชศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ ๒๕๕๔; ๒๐๘-๒๐๒ :(๓)๖

– สุภารัตน์ คำแดง, ใจนุช กาญจนภู, นิภาพร เมืองจันทร์, ทรงพล สิทธิการค้า, อดุลย์ศักดิ์ เหลาแหลม, วุฒิไกร วิลามาตย์ และ นพวัฒน์ เพ็งคำศรี. ฤทธิ์ต้านจุลชีพของสารสกัดเอทานอลจากใบพลูต่อเชื้อ Enterococcus faecalis ที่เจริญแบบไบโอฟิล์ม๒๕๕๓ วารสารเภสัชศาสตร์อิสาน.; :(๒)๖.๙๑-๘๔  

– สุภารัตน์ คำแดง, ใจนุช กาญจนภู, เบญจพร แก้วแดง, อุษณีย์ อุปัญญ์, ชัยกำพล กุมารสิทธิ์ และ ระวิวรรณ แก้วอมตะวงศ์. ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดใบเสี้ยวแดงในตับและสมองหนูเบาหวาน. Proceeding of the First Annual North Eastern Pharmacy Research Conference 2552;. ๖-๑๔๐ :๑  

– พมมะวง ชาลีกาบแก้ว, พรทิพย์ คำจันทร์, สรินยา เจิมขุนทด, พรศิริ ไพทอง, ใจนุช กาญจนภู, สุภารัตน์ คำแดง. การศึกษาความเป็นพิษเฉียบพลันและกึ่งเรื้อรังของสารสกัดใบเสี้ยวแดงด้วย

เอทานอลในหนูถีบจักร. Proceedings of the 2nd UBU Research Conference. 2551; ๓๖๙-๓๗๖:๒  

– มาลี จงธนากร, ใจนุช กาญจนภู, และ สุภารัตน์ คำแดง. ฤทธิ์ต้านจุลชีพของสารสกัดสมุนไพรต่อ

Enterococcus faecalis. วิทยาสารทันตแพทยศาสตร์มหิดล ๒๕๕๑. ๑๘๗-๑๗๗: (๒)๒๘.

–  Kanchanapoo J, Ao M, Prasad R, Moore C, Kay C, Piyachaturawat P, Rao MC. Role of  Protein Kinase C  in the Age-Dependent Secretagogue Action of Bile Acids in Mammalian Colon. The American Journal of Physiology – Cell Physiology. 2007 Dec; 293(6): C1851-61.

– Weihrauch D, Kanchanapoo J, Ao M, Prasad R, Piyachaturawat P, and Rao MC. Weanling, but not adult, rabbit colon absorbs bile acids: Flux is linked to expression of putative bile acid transporters. The American Journal of Physiology – Gastrointestinal and Liver Physiology, 2005 Mar; 290(3): G439-50.

– Kanchanapoo J, Rao MC, Sophasan S, Suksamrarn A, and Piyachaturawat P. Inhibitory effects of choleretic hydroxyacetophenones on ileal bile acid transport in rats. Life Sciences, 2005 Feb 28; 78(14): 1630-6.

บทความวิชาการ

– ใจนุช กาญจนภู และธกฤษณ์ รุ่งกิจวัฒนกุล. Ketogenic diets as therapeutic interventions for Alzheimer’s disease. ใน วีระยุทธ โพธิ์ฐิติรัตน์, ทักษิณ จันทร์สิงห์ และรักษ์จินดา วัฒนาลัย, บรรณาธิการ. Pharmaceutical Diagnosis 2013: Conference on Dietary Supplements for Community Pharmacists, พิมพ์ครั้งที่ ๑. บริษัท ออลอินวัน พริ๊นติ้ง: กรุงเทพฯ, มกราคม ๒๕๕๖: ๒๓-๒๙.

– ใจนุช กาญจนภู. Collagen: basic knowledge and application for dietary supplement. ใน สุวภาพ เตชะมหามณีรัตน์ และ เฉลิมศรี ภุมมางกูร, บรรณาธิการ. Pharmaceutical Diagnosis 2011: Fact or Fiction of Dietary Supplements, พิมพ์ครั้งที่ ๑. บริษัท ประชาชน จำกัด: กรุงเทพฯ, มกราคม ๒๕๕๔: ๑๕-๔๓.

– ใจนุช กาญจนภู, ปรีชา มนทกานติกุล และ นวภรณ์ วิมลสาระวงศ์. Erythromycin as a Motilin Receptor Agonist. กุมารเวชสาร, ๒๕๔๓ ม.ค.-เม.ย.; ๗(๑): ๑๙-๒๒.