การจัดการความรู้

Jul
18
Jul
12
Aug
07

แนวทางการปฏิบัติการเลือกวารสารเพื่อตีพิมพ์บทความวิจัย

  ประกาศเรื่องการจัดการความรู้2563 (คลิก)   เอกสารแนบ เพื่อชี้แจงเหตุผลความจำเป็นในการปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดสัมมนา KM วิจัย (คลิก)   แนวทางการปฏิบัติการเลือกวารสารเพื่อตีพิมพ์บทความวิจัย (คลิก)   หนังสือรับรองการนำไปใช้ประโยชน์ (คลิก)

DETAIL
Jul
26

คู่มือการใช้เทคโนโลยีเพื่อจัดการเรียนเชิงรุก

โครงการจัดการเรียนรู้ (KM) ด้านการเรียนการสอน ประจำปีการศึกษา 2563 เอกสาร (คลิก)

DETAIL

การสัมมนาการจัดการความรู้ด้านงานวิจัย ปีการศึกษา 2561

ดาวน์โหลด (คลิก) คู่มือมาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ  คำถามและแนวทางการปฏิบัติตามแนวทางคู่มือมาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการโดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 1. การเผยแพร่ซ้ำ (Redundant Publication) สามารถทำได้หรือไม่     อ้างอิงตามแนวทางคู่มือมาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ โดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ หน้า 23 หัวข้อ 8.2 ข้อ 1-7 เมื่อจำเป็นต้องเผยแพร่ซ้ำ ให้แจ้งเจ้าของทรัพยากรครั้งแรก และครั้งที่สองทราบทั้งคู่ และในการเผยแพร่งานครั้งที่สองนั้น ให้อ้างอิงถึงการเผยแพร่ครั้งแรกด้วย หากใช้สื่อเช่นเดียวกันกับครั้งแรก ให้พยายามสื่อด้วยการทวนความ (paraphrase) เท่าที่จะสามารถทำได้2. แนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับการลอกเลียนโดยมิชอบ (Plagiarism) คืออย่างไร     อ้างอิงตามแนวทางคู่มือมาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ โดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ หน้า 13 หัวข้อ 4.1-4.3 ทั้งในเรื่องของการนิยาม และแนวทางปฏิบัติ ซึ่่งแนวทางปฏิบัติคือ องค์ความรู้/ข้อมูลที่อ้างอิง จำเป็นต้องถูกอ้างอิง และมีที่มาโดยครบถ้วน และให้พยายามสื่อด้วยการทวนความ (paraphrase) หรือย่อความ (summarize) ด้วยวิธีการใช้ภาษาของผู้นิพนธ์เอง และพึงเลี่ยงการอ่านจากเอกสารอ้างอิงนั้นพร้อมกับเขียนไปด้วย ซึ่่งจะทำให้โอกาสการบังเอิญเขียนตรงกันเป็นไปได้ยาก3. การอ้างอิง (citation) และเอกสารอ้างอิง (reference)ควรทำอย่างไร    […]

DETAIL
Jul
12

การประชุมแนวทางการจัดการเรียนการสอน ประจำปีการศึกษา 2561

  [download เอกสาร]        จุดเริ่มต้นและพัฒนาการของการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงเริ่มต้นโดยแจ็ค เมซิโรว์ (Jack Mezirow) ศาสตราจารย์ด้านการศึกษาผู้ใหญ่ (adult education) ได้เริ่มพัฒนาทฤษฎีนี้ขึ้นในปี ค.ศ. 1978 โดยทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลงนั้นเป็นกระบวนการเรียนรู้ที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงตนเองอย่างลึกซึ้ง โดยผู้เรียนต้องเปลี่ยนแปลงทั้งโลกทัศน์ (affective attributes) ความรู้ความเข้าใจ (cognitive attributes) และพฤติกรรม (psychomotor attributes) ที่เป็นการเปลี่ยนแปลงจากภายในที่เป็นรากฐานของบุคคลเพื่อให้เกิดความเข้าใจในตนเองอย่างลึกซึ้ง รวมทั้งตระหนักต่อความสัมพันธ์กับเพื่อนมนุษย์และมุมมองต่อสังคม สภาพแวดล้อม ไปจนถึงการตัดสินใจเพื่อนำตนเองไปสู่บทบาทใดบทบาทหนึ่งที่เปลี่ยนไป คือมีการเปลี่ยนแปลงอย่างครบถ้วนในทุกด้านแบบ holistic change        ขั้นตอน/กระบวนการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง (transformation process) เพื่อนำมาปรับใช้ในการเรียนการสอนการบริบาลทางเภสัชกรรมของคณะเภสัชศาสตร์ ในรายวิชาการปฏิบัติการเภสัชกรรมคลินิกสำหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร์ประกอบไปด้วย 3 ขั้นตอน ได้แก่ Program Learning Outcomes        เป็นขั้นตอนแรกของกระบวนการ โดยเป็นการกำหนดผลการเรียนรู้ (learning outcome) ที่ต้องการให้ผู้เรียนทุกคนประสบความสำเร็จหลังเสร็จสิ้นกระบวนการเรียนรู้ […]

DETAIL

แนวทางการสร้างข้อสอบที่มีประสิทธิภาพ

แนวทางการสร้างข้อสอบที่มีประสิทธิภาพ ประกอบด้วยหลักเกณฑ์การออกข้อสอบ รูปแบบข้อสอบ หลักการเขียนข้อสอบ เทคนิคการเลือกสถานการณ์มาใช้ในการสร้างข้อสอบ เทคนิคการปรับปรุงและพัฒนาข้อสอบ ปัญหาที่พบของการสร้างข้อสอบของคณะเภสัชศาสตร์ ม.สยาม [เอกสาร]

DETAIL

แนวทางปฏิบัติในการเขียนโครงร่างวิจัยเพื่อขอรับการสนับสนุนทุนวิจัยจากภายนอกมหาวิทยาลัย

แนวทางปฏิบัติในการเขียนโครงร่างวิจัยเพื่อขอรับการสนับสนุนทุนวิจัยจากภายนอกมหาวิทยาลัย จากการสัมมนาการจัดการความรู้ด้านการวิจัย ประจำปีการศึกษา 2560 ที่ได้ดำเนินการแล้วเสร็จไป เมื่อวันพุธที่ 4 กรกฎาคม 2561 จึงได้รวบรวมเป็น “แนวทางปฏิบัติของคณะเภสัชศาสตร์ในการเขียน โครงร่างวิจัยเพื่อขอรับการสนับสนุนทุนวิจัยจากภายนอกมหาวิทยาลัยสยาม” ซึ่งแนวทางนี้ ประกอบด้วย 2 ส่วนหลักคือ แนวทางการเขียนโครงร่างวิจัยเพื่อขอการสนับสนุนทุนวิจัยจากภายนอก มหาวิทยาลัย และข้อมูลแหล่งทุนที่เกี่ยวข้อง (สามารถติดตามข้อมูลแหล่งทุนได้จากฝ่ายวิจัยของคณะฯและเอกสารแนบนี้) Link เอกสาร

DETAIL

ประกาศ เรื่อง แนวปฏิบัติที่ดีจากการจัดการความรู้ด้านการเรียนการสอนและด้านงานวิจัยคณะเภสัชศาสตร์

ประกาศ เรื่อง แนวปฏิบัติที่ดีจากการจัดการความรู้ด้านการเรียนการสอนและด้านงานวิจัยคณะเภสัชศาสตร์ 

DETAIL