อาจารย์ประจำ
ประวัติการศึกษา
– Research fellowship in Critical care/Nephrology University of Michigan College of Pharmacy พ.ศ. ๒๕๕๙
– Board Certified Pharmacotherapy Specialist (BCPS), Board of Pharmacy Specialties, the American Pharmacists Association ประเทศสหรัฐอเมริกา พ.ศ. ๒๕๕๔
– Fellow of Asian College of Pharmacy (FACP) FAPA College of Pharmacy, Federation of Asian Pharmaceutical Associations
– วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม สาขาเภสัชบำบัด สภาเภสัชกรรม พ.ศ. ๒๕๕๔
– Specialized fellowship in Nephrology Pharmacotherapy วิทยาลัยเภสัชบำบัด สภาเภสัชกรรม ประเทศไทย
– Specialized residency in Nephrology Pharmacotherapy วิทยาลัยเภสัชบำบัด สภาเภสัชกรรม ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๑
– General residency in Pharmacotherapy วิทยาลัยเภสัชบำบัด สภาเภสัชกรรม ประเทศไทย
– เภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาเภสัชกรรมโรงพยาบาลและคลินิก (เกียรตินิยมอันดับ ๑) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๖
ประวัติการทำงานและประสบการณ์
– ประธานชมรมเภสัชกรผู้ดูแลผู้ป่วยโรคไต (Thai Renal Pharmacist Group, T-RPG) สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) (๒๕๕๗-ปัจจุบัน)
– ประธานวิชาการ: ผู้บริหารวิทยาลัยเภสัชบำบัดแห่งประเทศไทย วิทยาลัยเภสัชบำบัดแห่งประเทศไทย สภาเภสัชกรรม (๒๕๕๕-๒๕๕๘)
– คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาไต คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข (๒๕๕๗-ปัจจุบัน)
– คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาโรงพยาบาล วาระ ๒๕๕๖-๒๕๕๘ ศูนย์ประสานงานการศึกษาเภสัชศาสตร์แห่งประเทศไทย (ศ.ศ.ภ.ท.) (๒๕๕๖-๒๕๕๘)
– กองบรรณาธิการวารสารสมาคมเภสัชกรรมชุมชน (ประเทศไทย) สมาคมเภสัชกรรมชุมชน (ประเทศไทย) (๒๕๕๕-ปัจจุบัน)
– คณะทำงานจัดทำข้อเสนอ “ทิศทางและอนาคตของการศึกษาเภสัชศาสตร์ไทยในสามทศวรรษหน้า สภาเภสัชกรรม (พ.ศ.๒๕๕๗-๒๕๘๖) (๒๕๕๖)
– คณะทำงานสร้างข้อสอบ สภาเภสัชกรรม ประจำคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม (๒๕๕๕-ปัจจุบัน)
– กรรมการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยลัยสยาม (๒๕๕๓-ปัจจุบัน)
– ที่ปรึกษา ฝ่ายเภสัชกรรม คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล (๒๕๕๓-ปัจจุบัน)
– ประธานกรรมการบริการวิชาการ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม (๒๕๕๓-ปัจจุบัน)
– ผู้ดูแลองค์ประกอบที่ ๕ การบริการวิชาการแก่สังคม คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม (๒๕๕๓-ปัจจุบัน)
หนังสือ/ตำรา
–
ผลงานวิจัย/บทความวิจัย
– Lewis SJ, Chaijamorn W, Shaw AR, Mueller BA. In silico trials using Monte Carlo simulation to evaluate ciprofloxacin and levofloxacin dosing in critically ill patients receiving prolonged intermittent renal replacement therapy. Ren Replace Ther 2016, 2:45. 45, DOI: 10.1186/s41100-016-0055-x.
– Rungkitwattanakul D, Chaijamorn W, Meesomboon R, Sangwiroon A, Kongrod J, Nurukkae P, Suntaree. Impact of a Pharmacy Education Program on Chronic Kidney Disease Patients with Complications in an Outpatient Clinic at Police General Hospital. American Journal of Medical Quality 2015; 30(2): 192-3.
– Chaijamorn W, Wanakamanee U. Pharmacokinetics of vancomycin in critically ill patients undergoing continuous venovenous haemodialysis. International Journal of Antimicrobial Agents 2014; 44(4): 367-8.
บทความวิชาการ
– Shaw AR, Chaijamorn W, Mueller BA. We Underdose Antibiotics in Patients on CRRT. Semin Dial. 2016 Jul; 29(4): 278-80.
– นัทพล มะลิซ้อน, วีรชัย ไชยจามร. การรักษาความผิดปกติของสารน้ำและอิเลกโทรไลต์ ใน: ธิดา นิงสานนท์, ฐิติมา ด้วงเงิน, วีรชัย ไชยจามร, ปรีชา มนทกานติกุล บรรณาธิการ.แนวทางสำคัญสำหรับการบริบาลทางเภสัชกรรม (Essential tools for pharmaceutical care). พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพ: โรงพิมพ์ประชาชน, ๒๕๕๘: ๒๘๕-๓๒๒.
– นัทพล มะลิซ้อน, วีรชัย ไชยจามร. Management of water and electrolyte disorders ใน: ดาราพร รุ้งพรายพิรดา, กมลวรรณ อ่อนละมัย, อุษณีย์ วนรรฆมณี, วีรชัย ไชยจามร, ศยามล สุขขา, พิรดา วงษ์พิรา บรรณาธิการ คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคไตสำหรับเภสัชกร. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพ: โรงพิมพ์ประชาชน, 2558:127-152.
– วีรชัย ไชยจามร. Chronic kidney disease-mineral and bone disorders. ใน: ดาราพร รุ้งพรายพิรดา, กมลวรรณ อ่อนละมัย, อุษณีย์ วนรรฆมณี, วีรชัย ไชยจามร, ศยามล สุขขา, พิรดา วงษ์พิรา บรรณาธิการ คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคไตสำหรับเภสัชกร. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพ: โรงพิมพ์ประชาชน, 2558: 169-188.
– วีรชัย ไชยจามร. Antimicrobial dosing concepts and adjustment in critically ill patients receiving CRRT or intermittent hemodialysis. ใน: ชาญกิจ พุฒิเลอพงศ์, ณัฏฐดา อารีเปี่ยม, บรรณาธิการ. Pharmacotherapy in infectious diseases: bridging the gap between evidence-based pharmacotherapy to practice. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพ: ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557: 49-66.
– วีรชัย ไชยจามร. Chronic kidney disease: progression-modifying therapies. ใน: รุ่งทิวา หมื่นปา, สุภัสร์ สุบงกช, ชาญกิจ พุฒิเลอพงศ์, วิชัย สันติมาลีวรกุล, วีรชัย ไชยจามร, บรรณาธิการ. Contemporary reviews in pharmacotherapy 2014. พิมพ์ครั้งที่ 1. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2557: 89-103.
– วีรชัย ไชยจามร. Optimizing adjustment of antimicrobial dosing regimen in renal impairment. ใน: นารัต เกษตรทัต, ชาญกิจ พุฒิเลอพงศ์, บรรณาธิการ. Pharmacotherapy in infectious diseases: from evidence-based to pharmaceutical care. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพ: ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553: 117-146.