คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
ประวัติการศึกษา
– BCPS Pharmaceutical Care สภาเภสัชกรรม พ.ศ. ๒๕๔๖
– Ph.D. Clinical Pharmacy Welsh School of Pharmacy, Cardiff Univ. U.K. พ.ศ. ๒๕๔๔
– Certificate Clin. Pharm. Educ. U.S.C. (U.S.A.) พ.ศ. ๒๕๓๕
– ประกาศนียบัตร การบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. ๒๕๓๑
– วุฒิบัตร สถาบันจิตวิทยา กองบัญชาการทหารสูงสุด พ.ศ. ๒๕๒๕
– ประกาศนียบัตร แพทยศาสตรศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๒๕
– M.S. (Clin. Pharm) Clinical Pharmacy Purdue Univ. (U.S.A) ทุน ก.พ. พ.ศ. ๒๕๑๗
– ภบ. (เกียรตินิยม) เภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์พ.ศ. ๒๕๐๙
ประวัติการทำงานและประสบการณ์
– Professor Univ. of Interdisciplinary Study Texas,USA (พ.ศ. ๒๕๕๖)
– รองศาสตราจารย์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (พ.ศ. ๒๕๒๕)
– ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (พ.ศ. ๒๕๒๐)
– อาจารย์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (พ.ศ. ๒๕๑๑)
– อาจารย์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (พ.ศ. ๒๕๐๙)
ประสบการณ์การสอนคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ปริญญาตรี
– เภสัชกรรมชุมชน
– เภสัชกรรมคลินิก ๑, เภสัชกรรมคลินิก ๒, เภสัชกรรมคลินิก ๓
ปริญญาโท
– การบริบาลทางเภสัชกรรม
– ควบคุมวิทยานิพนธ์ประมาณ ๒๐ เรื่อง
ประสบการณ์การสอนคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
– เภสัชศาสตร์สัมพันธ์ ๑ (๑-๐-๒)
– การคำนวณทางเภสัชศาสตร์ ๒ (๒-๐-๔)
– ชีวเคมีทางคลินิก ๓ (๓-๐-๖)
– เภสัชวิทยา ๒ ๒ (๒-๐-๔)
– โอสถกรรมศาสตร์ ๑ ๔ (๔-๐-๘)
– การสืบค้นและประเมินวรรณกรรม ๒ (๒-๐-๔)
– การให้บริการข่าวสารด้านยา ๒ (๒-๐-๔)
– เภสัชกรรมโรงพยาบาล ๒ (๒-๐-๔)
– เภสัชระบาดวิทยา ๒ (๒-๐-๔)
– โอสถกรรมานุบาล ๓ (๓-๐-๖)
– การเตรียมยาเฉพาะคราวทางเภสัชศาสตร์ ๒ (๒-๐-๔)
ตำแหน่งหน้าที่อื่น ๆ และกิจกรรม
– คณะอนุกรรมาธิการการพิจารณาศึกษาปัญหาและการพัฒนาวิชาชีพเภสัชกรรมและระบบยาในระบบสุขภาพของชาติ คณะกรรมาธิการสาธารณสุข วุฒิสภา (พ.ศ.๒๕๕๓-๒๕๕๔)
– ที่ปรึกษาสภาการพยาบาล หลักสูตรวุฒิบัตรของสภาการพยาบาล
– ผู้ทรงคุณวุฒิทางวิชาการ ของสกอ.
– คณะอนุกรรมการประสานงานส่งเสริมงานวิจัยเพื่อเชื่อมโยงร้านยากับระบบสุขภาพแห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๕๓-๒๕๕๔)
– คณะกรรมการการศึกษาเภสัชศาสตร์ (พ.ศ.๒๕๕๓-ปัจจุบัน)
– ประธานจัดการประชุมวิชาการ ในโอกาสเภสัชกรรมสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ครบรอบ ๘๐ ปี (๒๐ กรกฏาคม ๒๕๕๒)
– กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กระทรวงสาธารณสุข (๒๕๕๐-ปัจจุบัน)
– อนุกรรมการพัฒนาบัญชียา หลักแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข (๒๕๒๙-๒๕๕๐)
– อุปนายกเภสัชกรรมสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (๒๕๕๐-๒๕๕๓)
– รองคณบดีฝ่ายพัฒนาและวางแผน คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (๒๕๓๐-๒๕๓๔)
– กรรมการพิจารณามาตรฐานหลักสูตรมหาวิทยาลัยเอกชน ทบวงมหาวิทยาลัย (๒๕๓๑-๒๕๔๐)
– กรรมการสอบไล่ภายนอก คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต (๒๕๓๑-๒๕๔๔)
– อาจารย์พิเศษ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต (๒๕๓๓-๒๕๔๔)
– ประธานฝ่ายวิชาการ และเลขานุการประชุมวิชาการ Pan Pacific-Asian Congress I on Clinical Pharmacy (๒๕๓๔)
– เลขานุการจัดการประชุม FAPA Congress ครั้งที่ 15 (๒๕๓๗)
– กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสาขาเภสัชกรรม สำนักงาน ก.ก. กระทรวงมหาดไทย (๒๕๓๙-ปัจจุบัน)
– กรรมการที่ปรึกษา ฝ่ายเภสัชกรรม กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข (๒๕๔๐-ปัจจุบัน)
– อาจารย์พิเศษ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร (๒๕๔๐-๒๕๔๔)
– อาจารย์พิเศษ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (๒๕๔๐-๒๕๕๐)
– อาจารย์พิเศษ คณะเภสัชศาสตร์ หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ (๒๕๔๐-๒๕๕๐)
– กรรมการจัดทำหลักสูตรการฝึกอบรมเป็นผู้มีความรู้ความชำนาญสาขา Pharmaceutical care (๒๕๔๐-ปัจจุบัน)
– ประธานกรรมการจัดทำหลักสูตร Fellow College of Pharmacy สาขา Pharmaceutical care, เภสัชกรรมสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (๒๕๔๐-ปัจจุบัน)
– คณะทำงานตรวจสอบงานวิจัย และงานวิชาการของกองบรรณาธิการวารสาร สถาบันประสาทวิทยา (๒๕๔๒-ปัจจุบัน)
– อาจารย์พิเศษ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (๒๕๔๓- ๒๕๕๐)
– อาจารย์พิเศษ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ (๒๕๔๐-๒๕๔๔)
– คณะทำงานบัญญัติศัพท์ สภาเภสัชกรรม (๒๕๔๔-ปัจจุบัน)
– ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหารหลักสูตรวุฒิบัตร สาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (๒๕๔๔)
– กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ การจัดทำหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (๒๕๔๔)
– ประธานวิทยาลัยเภสัชบำบัด สภาเภสัชกรรม ๒ วาระ
๒๕๔๗-๒๕๔๙
๒๕๕๐-๒๕๕๒
– กรรมการสภาเภสัชกรรม ๕ วาระ
พ.ศ. ๒๕๓๗-๒๕๔๐ กรรมการ และตำแหน่งประชาสัมพันธ์
พ.ศ. ๒๕๔๓-๒๕๔๖ กรรมการ
พ.ศ. ๒๕๔๖-๒๕๔๙ กรรมการ
พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๕๕ กรรมการ
พ.ศ. ๒๕๕๖-ปัจจุบัน กรรมการ
– ประธานจัดการประชุมวิชาการนานาชาติ Asian Congress on Clinical Pharmacy ครั้งที่ 6 ห้องประชุมโรงพยาบาลราชวิถี ๖ – ๙ กรกฎาคม ๒๕๔๙
– กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาหลักสูตรปริญาเอก สาขาเภสัชกรรมคลินิก คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (ปัจจุบัน)
– คณะอนุกรรมการการศึกษาเภสัชศาสตร์
– คณะกรรมการอำนวยการ ศูนย์ประสานงานการศึกาเภสัชศาสตร์แห่งประเทศไทย (ศ.ศ.ภ.ท.)
สมาชิกสมาคมวิชาชีพ
– เภสัชกรรมสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
– สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย)
– Rho Chi Society, Purdue University
– สมาคมจิตวิทยาแห่งประเทศไทย
– สรีรวิทยาสมาคม แห่งประเทศไทย
– เภสัชวิทยาสมาคม แห่งประเทศไทย
– สมาคมศิษย์เก่า มหาวิทยาลัยมหิดล
– สมาคมข้าราชการพลเรือนแห่งประเทศไทย
– สมาคมนักเรียนทุนรัฐบาล
ประวัติที่สำคัญอื่น ๆ
รางวัล
๒๕๑๖ทุน ก.พ. ศึกษาปริญญาโท สาขาเภสัชกรรมคลินิก สหรัฐอเมริกา
๒๕๓๕อาจารย์ดีเด่นแห่งปี
๒๕๕๕ นักวิชาการดีเด่น สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ สถาบันอุดมศึกษาเอกชน (สสอท.) เดือน กรกฏาคม
๒๕๕๖บุคคลตัวอย่างแห่งปี พ.ศ.๒๕๕๗ สาขาการบริหารการศึกษาและเภสัชกรรมคลินิก มูลนิธิเพื่อสังคมไทย เส้นทางไทย
กิจกรรมทางวิชาการ (พ.ศ.๒๕๔๒-ปัจจุบัน)
1. งานบริการวิชาการ
วิทยากร บรรยายวิชาการ มากกว่า ๕๐ ครั้ง ตามโรงพยาบาลและสถานที่ต่าง ๆ
2. กิจกรรมวิชาการอื่น ๆ
กรรมการพิจารณาผลงานวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กรรมการพิจารณาผลงานวิชาการ มหาวิทยาลัยศิลปากร
กรรมการพิจารณาผลงานวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
กรรมการพิจารณาผลงานวิชาการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
กรรมการพิจารณาผลงานวิชาการ มหาวิทยาลัยนเรศวร
กรรมการพิจารณาผลงานวิชาการ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
กรรมการพิจารณาผลงานวิชาการ ของเภสัชกร โรงพยาบาลรามาธิบดี
กรรมการประเมินการใช้ยาโรงพยาบาลรามาธิบดี
อาจารย์พิเศษ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยต่าง ๆ (ม.มหาสารคาม, ม.อุบลราชธานี)
กรรมการพิจารณาบทความของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.)
กรรมการพิจารณาผลงานวิชาการ ของเภสัชกรโรงพยาบาลศิริราช
กรรมการประเมินคุณภาพการศึกษา คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
กรรมการประเมินคุณภาพการศึกษา คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ
หนังสือ/ตำรา
– C Pummangura , Kositchaivat P, The History of Pharmacy Education in Thailand. The Journal of Interdisciplinary Networks, 2:1 : Jan-June 2013
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร การตรวจทางห้องปฏิบัติการในการวินิจฉัยทางเภสัชกรรม ,กรุงเทพ สถาบัน วิศวกรรมการพิมพ์ มหาวิทยาลัยสยาม ๒๕๕๔
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร Pharmaceutical Care: Good Labeling as Legal Aspects ใน เฉลิมศรี ภุมมางกูร ปรีชา มนทกานติกุล และสุวภาพ เตชะมหามณีรัตน์ (บรรณาธิการ) Pharmaceutical Diagnosis 2010 : Diversity in Pharmaceutical Care ,กรุงเทพ บริษัท ประชาชน จำกัด 2553 หน้า 1-7
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร ยาเพื่อชีวิต สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ กรุงเทพฯพ.ศ.๒๕๕๓
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร Pharmaceutical Care Documentation: Professional and Legal Aspects ในเฉลิมศรี ภุมมางกูร, ปรีชา มนทกานติกุล, ปวีณา สนธิสมบัติ และคณะ (Eds) Contemporary Reviews in Pharmacotherapy 2009, กรุงเทพฯ, บริษัทประชาชน จำกัด พ.ศ.2552 pp 2-6
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร Pharmaceutical Care : Concept and Practice for Today Pharmacists ใน เฉลิมศรี ภุมมางกูร ปรีชา มนทกานติกุล ปวีณา สนธิสมบัติ และคณะ (Eds) Contemporary Reviews in Pharmacotherapy 2008, กรุงเทพฯ บริษัท ประชาชน จำกัด 2551 pp 1-7
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร Pitfalls in Pharmacy Practice ใน ปวีณา สนธิสมบัติ, อารมณ์ เจษฎาญาน เมธา, สุรกิจ นาทีสุวรรณ, ศิรดา มาฝันต๊ะ (บรรณาธิการ) Contemporary Review in Pharmacotherapy 2007, พะเยากอบคำการพิมพ์ พ.ศ. 2550 หน้า 89-97
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร โอสถกรรมานุบาล ใน เฉลิมศรี ภุมมางกูร บุษบา จินดาวิจักษณ์ สุวัฒนา
จุฬาวัฒนทล เนติ สุขสมบูรณ์ (บรรณาธิการ) A Practical Guide to Pharmacovigilance กรุงเทพฯ บริษัทประชาชน พ.ศ.๒๕๔๗ หน้า ๑-๒๑
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร วิธีการประเมินอาการไม่พึงประสงค์จากยา ใน เฉลิมศรี ภุมมางกูร, บุษบา จินดาวิจักษณ์, สุวัฒนา จุฬาวัฒนทล, เนติ สุขสมบูรณ์ (บรรณาธิการ) A Practical Guide to
Pharmacovigilance กรุงเทพฯ บริษัทประชาชน พ.ศ.๒๕๔๗ หน้า ๒๓-๕๐
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร, Adverse Drug Events: Definitions, Epidemiology, Assessment and Management, ใน สุวัฒนา จุฬาวัฒนทล เนติ สุขสมบูรณ์ (บรรณาธิการ) Advances in Pharmaceutical Care and Pharmacotherapeutics กรุงเทพมหานคร. บริษัทประชาชน, ๒๕๔๖: ๒๒๕-๔๒
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร การประเมินการใช้ยา ใน สุวัฒนา จุฬาวัฒนทล, ปรีชา มนทกานติกุล (บรรณาธิการ) การประเมินการใช้ยา : ขั้นตอนหนึ่งสู่การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล, กรุงเทพฯ จันทร์ม่วงการพิมพ์, พ.ศ.๒๕๔๔
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร, กฤตติกา ตัญญะแสนสุข (บรรณาธิการ) โอสถกรรมศาสตร์ I กรุงเทพฯ นิวไทยมิตรการพิมพ์ พ.ศ.๒๕๔๓
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร ปรัชญาของการบริบาลทางเภสัชกรรม ใน เฉลิมศรี ภุมมางกูร กฤตติกา ตัญญะแสนสุข (บรรณาธิการ) โอสถกรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ นิวไทยมิตรการพิมพ์, พ.ศ.๒๕๔๓
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร การสื่อสารในการบริบาลทางเภสัชกรรมปฏิบัติ ใน เฉลิมศรี ภุมมางกูร, กฤตติกา ตัญญะแสนสุข (บรรณาธิการ) โอสถกรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ, นิวไทยมิตรการพิมพ์,
พ.ศ. ๒๕๔๓
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร ความสำคัญของงานบริการข้อมูลทางยา ใน สุวัฒนา จุฬาวัฒนทล และ เนติ สุขสมบูรณ์ (บรรณาธิการ) เภสัชกรรมชุมชนกับการให้คำปรึกษาเรื่องยาแก่ผู้ป่วย พ.ศ. ๒๕๓๙ กรุงเทพฯ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร การให้คำปรึกษาในการรักษาโรคอุจจาระร่วง ใน สุวัฒนา จุฬาวัฒนทล และ เนติ สุขสมบูรณ์ (บรรณาธิการ) เภสัชกรรมชุมชนกับการให้คำปรึกษาเรื่องยาแก่ผู้ป่วย พ.ศ.๒๕๓๙ กรุงเทพฯ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร การบริบาลทางเภสัชกรรม ใน บุษบา จินดาวิจักษณ์ และ เนติ สุขสมบูรณ์ (บรรณาธิการ) เภสัชกรรมบำบัดในโรงพยาบาล พ.ศ.๒๕๓๙ กรุงเทพฯ ไทยมิตรการพิมพ์
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ใน บุษบา จินดาวิจักษณ์ และ เนติ สุขสมบูรณ์ (บรรณาธิการ) เภสัชกรรมบำบัดในโรงพยาบาล พ.ศ.๒๕๓๙ กรุงเทพฯ ไทยมิตรการพิมพ์
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร การใช้ยาในหญิงมีครรภ์ ใน บุษบา จินดาวิจักษณ์ และ สุวัฒนา จุฬาวัฒนทล (บรรณาธิการ) ยากับมารดาและทารก พ.ศ.๒๕๓๘ กรุงเทพฯ โรงพิมพ์ R.D.P.
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร Concept of Counseling ใน เพชรรัตน์ พงษ์เจริญสุข และจุฑามณี จารุจินดา (บรรณาธิการ) มิติใหม่ของเภสัชชุมชน พ.ศ.๒๕๓๗ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร (บรรณาธิการ) บัญชียาหลักแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ.๒๕๓๖)
ผลงานวิจัย/บทความวิจัย
– บังอร ศรีพานิชกุลชัย ทิพาพร กาญจตนราช, รักษวร ใจสะอาด, จันทรทิพย์ กาญจนศิลป์, ชนัตถา พลอยเลื่อมแสง, ดวงทิพย์ หงส์สมุทร, พิมลศรี แสงคาร์, เฉลิมศรี ภุมมางกูร “ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการเข้าถึงการบริการทางเภสัชกรรมที่ดีอย่างเท่าเทียมในสถานบริการทุกระดับ” เมษายน ๒๕๕๖, สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา
– T Jansing, C Pummangura, R Mesomboon, et at Adverse Drug Reactions to GPO-VIR (Stavudine, Lamivudine and Nevirapine) in HIV Infected Patients. J. of Interdisciplinary Networks 2:1 ; Jan-June 2013
– HPLC analysis of Curcuminoids in Turmeric Rhizomes Collected from Indonesia and Thailand. W. Pothitirat, Nuryanta SD, Jansook P, C Pummangura, W. Gritsanapan. The J. of Interdisiplsnary Network 2:1 ; Jan-June 2013
– เฉลิมศรี ภุมางกูร, จันทร์ทิพย์ กาญจนศิลป์, แสวง วัชระธนกิจ, หนึ่งฤทัย สุกใส ,พีรยา สมสะอาด, วราวุธ เสริมสินสิริ, ปิยะวัฒน์ ประภูชะกา. และพะยอม สุขเอนกนันท์ “สถานะและคุณค่าของงานเภสัชกรรมชุมชนในประเทศไทย” ไทยเภสัชศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ พ.ศ.๒๕๕๕
– เฉลิมศรี ภุมางกูร,จันทร์ทิพย์ กลุ่มงานคณะกรรมาธิการสาธารณสุข สำนักกรรมาธิการ ๓ สำนักงานเลขานุการวุฒิสภา การศึกษา “ปัญหาและการพัฒนาวิชาชีพเภสัชกรรม และรบบยาในระบบหลักประกันคุณภาพแห่งชาติ” พ.ศ.๒๕๕๔
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร,อัญชลี จันทาโภ ,จรวยพร ศรีศศลักษณ์ “ความพึงพอใจของนักศึกษาเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ต่อการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ” ไทยเภสัชศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
– Tragulpiankit P, Kaojarern S, Pummangura C, Wananukul W and Luscombe D. Pharmacist participation in the reduction of preventable adverse drug reactions in Thai hospitalized patients. J Applied Therapeutic Research 2009; 9(1) : 3-10
– Tragulpiankit P, Pummangura C, Luscombe DK, Kaojarern S, Wananukul W, Montakantskul P, et al Prevention of adverse drug reactions in hospitalized patients by pharmacist participation at a large teaching hospital in Thailand Drug Safety 2005; 28(10) : 931
– Pummangura C, Limwatananond C, Nawaporn V et al Pharmaceutical care :The assessment of suspected adverse drug reactions in paediatric patients. Mahidol Univ J Pharm Sci 2003; 30 : 29-37
– Pummangura C, Tragulpiankit P, Kaocharoen S et al Characteristics of adverse drug reactions and patient at risk in medical wards. Mahidol Univ J Pharm Sci, 2003; 30 (3) : 25-31
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร คณะทำงาน “การคัดเลือกยา” ในระบบยาของประเทศไทย สุวิทย์ วิบูลผลประเสริฐ (บรรณาธิการ) กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์ ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย พ.ศ.๒๕๔๕
– Drug therapeutic problems from antimicrobials in the elderly at medical wards, Ramathibodi Hospital 2001
– Implementation of Pharmaceutical care in geriatric patients in the general medical wards at Maharat Nakhorn Ratchasima Hospital, 2001
– Cost of Adverse Drug Reactions in Samutsakorn Hospital, 2000
– Study of adverse drug reactions at Queen Sirikit National Institute of Child Health 2000
– Compliance of Asthmatic Patients at Queen Sirikit National Institute of Child Health, 1999.
– Incidence and Cost Impact of Adverse Drug Reaction at Queen Sirikit National Institute of Child Health, 1999
– วันจันทร์ ปุญญาวันทนีย์, บุษบา จินดาวิจักษณ์, เฉลิมศรี ภุมมางกูร, สิรินทร ฉันศิริกาญจน การใช้ยาลดความดันโลหิตสูงที่ไม่ตรงตามสั่งในผู้ป่วยนอก วารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๓ พ.ศ.๒๕๔๑ หน้า ๑-๙
– Drug Use Evaluation of Impiinem/Cilastatin, Children’s Hospital, 1997
– Determination and Evaluation of Patient Compliance at Out-Patient Clinic, Children’s Hospital, 1997
– Antibiotic Dry Sysup Counseling on Guardian at Children’s Hospital, 1997
– Drug Use Evaluation of Antihyper-lipidemia, Lerdsin Hospital, 1997
– Drug Use Evaluation of H2-Receptor Antagonists, Lerdsin Hospital, 1997
– Drug Related Admission to Siriraj Hospital, 1997
– Pummangura C, Arkaravichien W, Rithiprasart T, Distribution of The Post-Graduates and their Contribution to Climical Pharmacy Development in Thailand. The Pan Pacific-Asian Congress IV,10-14 July, 1994. Jakarta, Indonesia
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร, พัชรินทร์ สุวรรณภูฎ, เพชรรัตน์ พงษ์เจริญสุข ศึกษาการสั่งจ่ายยาปฏิชีวนะที่แผนกเวชปฏิบัติทั่วไปและแผนกหู ตา คอ จมูก ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี พ.ศ.๒๕๓๗
– ปราณี ใจอาจ, เฉลิมศรี ภุมมางกูร, เกียรติชัย ฤกษ์สำราญ, เรืองวงศ์ ตันติแพทยทยางกูร การให้คำแนะนำการใช้ยาในโรงพยาบาล คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ.๒๕๓๖
– Drug Use Evaluation of H2-Receptor Antagonists at Ramathibodi Hospital, 1992
– ปราณี ใจอาจ, เฉลิมศรี ภุมมางกูร, เพชรรัตน์ พงษ์เจริญสุข การใช้เพนนิซิลลินและ เซฟาโลสปอรินในโรงพยาบาล การประชุมวิชาการเภสัชกรรมสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ พ.ศ.๒๕๓๕
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร, สยมพร ศิรินาวิน, จิตติมา เอกตระกูลชัย พฤติกรรมการสั่งจ่ายยาแวนโคมายซินในโรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ.๒๕๓๕
– ปราณี ใจอาจ, เฉลิมศรี ภุมมางกูร สุภาภรณ์ พงศกร การสำรวจการใช้ยารักษามะเร็ง รายงานประจำปีมหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ.๒๕๓๕
– Pummangura C, Chindavijak B and Pongwecharak, J. Intensive Hospital Monitoring of ADR at Charoenkrung Pracharak Hospital, Proceddings. Pan Pacfic VI Conference, May 19-23, 1991.
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร, วิมลลักษณ์ วิวัฒบวร, สมศักดิ์ โล่ห์เลขา การใช้เซฟาโลสปอรินอย่างสมเหตุผลในผู้ป่วยเด็ก วารสารกุมารเวชกรรม, ๒๕๓๔; ๓๐ (๑) : ๒๕-๒๙
– Kaojarens S., Akaravichien W, Pummangura C, Dosing Regimen of Gentamicin During Intermittent Peritoneal Dialysis, J. Clin. Pharmacol, 1989; 29 : 140-143
– Indraprasit S., Akaravichien W, Pummangura C, Gentamicin Removal During Peritionial Dialysis, Nephron, 1984, 44 : 18-24
– บุษบา จินดาวิจักษณ์, เฉลิมศรี ภุมมางกูร : การผสมรวมกันไม่ได้ของยา ๘ ชนิดในยาผสมที่ให้ทางหลอดเลือดดำ ไทยเภสัชสาร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๒๕๒๖; ๗ : ๘-๒๓
บทความวิชาการ
– The History of Pharmacy Education in Thailand presentation at International Conference on Interdisciplinary Research and development in ASEAN Universities, 8-10 August, 2013 Chiang Mai Thailand
– Pummangura C. New Era of Education Implemented at Faculty of Pharmacy, Siam University. Proceeding the 7th Asian Conference on Clinical Pharmacy. Education Development and Challenge: For The Future Success, July 6-9, 2007 , Shanghai, China
– ปราโมทย์ ตระกูลพียรกิจ, เฉลิมศรี ภุมมางกูร, การติดตามและรายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาใน ธิดา นิงสานนท์, ปรีชา มนทกานติกุล, สุวัฒนา จุฬาวัฒนทล (บรรณาธิการ) คู่มือการใช้ยาสำหรับบุคลากรสาธารณสุข กรุงเทพฯ บริษัทประชาชน จำกัด, พ.ศ.๒๕๔๙ หน้า ๒๓๓-๒๔๙
– Pummangura C, Development of Pharmaceutical education emphasizing on Pharmaceutical Care. Presentation at Asian ACCP Conference Seoul , Korea , 24 July 2004
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร, การบูรณาการกิจกรรมเภสัชกรรมคลินิกสู่การบริบาลทางเภสัชกรรม เภสัชกรรมคลินิก ๒๕๔๖; ๑๑ : ๔๙-๕๗
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร, การพัฒนางานบริบาลทางเภสัชกรรมในประเทศไทย สารคลังข้อมูลยา ๒๕๔๖; (๕) : ๕-๗
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร, Pharmacovigilance and adverse drug reaction สารคลังข้อมูลยา 2543; 2 : 25-27
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร, เภสัชกรกับการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยา ข่าวสารด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒ มกราคม-มีนาคม ๒๕๔๒ หน้า ๕-๗
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร, ปัญหาจากการใช้ยา การประชุมวิชาการเภสัชกรรมสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว เชียงใหม่ ๒๐-๒๒ มีนาคม ๒๕๔๐
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร, ความสำคัญปฏิกิริยาระหว่างยา บรรยายในการประชุมวิชาการโรงพยาบาลเลิดสิน พ.ศ.๒๕๔๐
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร, การบริบาลทางเภสัชกรรม : IV การให้บริการข้อมูลทางยา : คลินิก ๒๕๔๐; ๑ : ๓๗-๘
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร, การบริบาลทางเภสัชกรรม : V การประเมินการใช้ยา, คลินิก ๒๕๔๐; ๒ : ๙๔-๖
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร, การบริบาลทางเภสัชกรรม : VI การบริบาลการใช้ยาปราศจากเชื้อและการตรวจตราและติดตามผลการรักษาด้านยา : คลินิก ๒๕๔๐; ๓ : ๑๗๑-๒
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร, การบริบาลทางเภสัชกรรม : VII ความหวังหรือหมดหวังคลินิก ๒๕๔๐; ๔ : ๒๕๓๔-๖
– Pummangura C, Pharmaceutical Care; Concept through Practice: Pediatric Model. The First Indochina Conference on Pharmaceutical Sciences, Pharmacy in Harmony. May 21, 1997 Bangkok, Thailand
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร, การบริบาลทางเภสัชกรรม : I คลื่นลูกใหม่ของวิชาชีพเภสัชกรรมคลินิก ๒๕๓๙;๑๐ : ๖๓๕-๔๐
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร, การบริบาลทางเภสัชกรรม : II การให้คำแนะนำเรื่องยา, คลินิก ๒๕๓๙; ๑๑ : ๗๒๕-๘
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร, การบริบาลทางเภสัชกรรม : III การตรวจตราและติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยา คลินิก ๒๕๓๙; ๑๒ : ๗๙๑-๒
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร, การบริบาลทางเภสัชกรรม I คลื่นลูกใหม่ของวิชาชีพเภสัชกรรมคลินิก ๒๕๓๙; ๑๒ : ๖๕๓-๖๔๐
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร, การบริบาลทางเภสัชกรรม II การให้คำแนะนำเรื่องยา, คลินิก ๒๕๓๙; ๑๒ : ๑๗๕-๘
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร, การบริบาลทางเภสัชกรรม III การตรวจตราและติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา คลินิก ๒๕๓๙; ๑๒ : ๗๙๑-๒
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร, การใช้ ORS ในอุจาระร่วง ชีวิตและสุขภาพ, ๒๕๓๘; ๓ :๑๗-๑๙
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร, Ondansetron, Succimer การประชุมวิชาการประจำปี เภสัชกรรมสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ พ.ศ.2537
– Pummangura C, Clinical Pharmacy Education and Its Implementation in Thailand, The Pan Pacific-Asian Congress IV, 10-14 July 1994, Jakarta, Indonesia.
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร, ยาที่ใช้รักษาริดสีดวงทวาร การศึกษาต่อเนื่อง, คลังข้อมูลยา คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ๒๕๓๕
– Pummangura C, Clinical Pharmacy Education in Thailand, Challenging or Discouraging, Proceedings of Pan Pacific-Asian Congress II on Clinical Pharmacy, Bangkok, Thailand, 1992
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร, วัฒนาการของเภสัชกรรมคลินิก การประชุมวิชาการคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ.๒๕๓๔
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร, ความร่วมมือของผู้ป่วยและการให้การศึกษาแก่ผู้ป่วย การประชุมวิชาการคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ.๒๕๓๔
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร, วิตะมินอี วารสารเภสัชศาสตร์มหิดล, ๒๕๓๐; ๑๔ : ๑๙-๒๐
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร, เภสัชกรรมคลินิก VS เภสัชวิทยาคลินิก วารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาล ๒๕๒๙; ๙(๑) : ๙-๑๒
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร, ยุพิน ไทยพิสุทธิ์กุล. Steven Johnson Syndrome สาส์นยา 2529; 2 : 132-7
– เฉลิมศรี ภุมมางกูร, ข้อพึงระวังการใช้แอสไพรินและ Reye’s Syndrome วารสารเภสัชศาสตร์มหิดล 2529; 13 : 21-22
– Pummangura C, Model Community Pharmacy, FAPA Congress in Korea 1982.