Faculty of Pharmacy logo

ผศ.ดร.ภก. ถนอมพงษ์ เสถียรลัคนา

อาจารย์ประจำ

ประวัติการศึกษา

– จบการศึกษาที่ คณะเภสัชศาสตร์ หลักสูตรการบริบาลทางเภสัชกรรม มหาวิทยาลัยศรีนครินทโรฒ

– ปัจจุบัน กำลังศึกษาในหลักสูตรวุฒิบัตรผู้มีความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมด้านจิตเวช

– ประกาศนียบัตร Certified General residency in Pharmacotherapy (วิทยาลัยเภสัชบำบัด)

– ประกาศนียบัตร Certified Specialized Residency in Psychiatric Pharmacotherapy (วิทยาลัยเภสัชบำบัด)

– ประกาศนียบัตร Board Certified Psychiatric Pharmacist (BCPP) จากสหรัฐอเมริกา

ประวัติการทำงานและประสบการณ์

– อาจารย์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม กรุงเทพมหานคร (๒๕๕๒ – ปัจจุบัน)

หนังสือ/ตำรา

ผลงานวิจัย/บทความวิจัย

บทความวิชาการ

– ถนอมพงษ์ เสถียรลัคนา. Pharmacotherapy of anxiety disorders. ใน ปิติ ทฤษฏิคุณ, โพยม วงศ์ภูวรักษ์, ฐิติมา ด้วงเงิน, อุษณีย์ วนรรฆมณี, อรวรรณ แซ่ลิ้ม(บรรณาธิการ). Practical issues in chronic diseases. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2559.

– ถนอมพงษ์ เสถียรลัคนา. Pharmacotherapy of depression. ใน ปิติ ทฤษฏิคุณ, โพยม วงศ์ภูวรักษ์, ฐิติมา ด้วงเงิน, อุษณีย์ วนรรฆมณี, อรวรรณ แซ่ลิ้ม (บรรณาธิการ). Practical issues in chronic diseases. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2559.

– ถนอมพงษ์ เสถียรลัคนา. Sedating psychotropic drugs for treatment of sleep disorders. ใน ธนรัตน์ สรวลเสน่ห์, บุษบา จินดาวิจักษณ์ (บรรณาธิการ). Pharmacy Review and Update Series 2016: Pharmacotherapy of Neurological Disorders. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2559.

– ถนอมพงษ์ เสถียรลัคนา. Insights in the Pathophysiology and Treatment of Schizophrenia. ใน ธนรัตน์ สรวลเสน่ห์, บุษบา จินดาวิจักษณ์ (บรรณาธิการ) Pharmacy Review and Update Series 2015: Pharmacotherapy of Psychiatric Disorders. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2558.

– ถนอมพงษ์ เสถียรลัคนา, ธนรัตน์ สรวลเสน่ห์. Essential Psychopharmacology for Pharmacist. ใน ธนรัตน์ สรวลเสน่ห์, บุษบา จินดาวิจักษณ์ (บรรณาธิการ). Pharmacy Review and Update Series 2015: Pharmacotherapy of Psychiatric Disorders. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2558.

– ถนอมพงษ์ เสถียรลัคนา. Serious drug-drug interactions of psychotropic drugs. ใน บุษบา จินดาวิจักษณ์, ปรีชา มนทกานติกุล, ธนรัตน์ สรวลเสน่ห์ (บรรณาธิการ). Advancing pharmacy practice towards service plan. สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย)  2557.

– ถนอมพงษ์ เสถียรลัคนา. Pharmacotherapy of depression. ใน ธิดา นิงสานนท์, ปรีชา      มนทกานติกุล, อุษณีย์ วนรรฆมณี, ธนรัตน์ สรวลเสน่ห์, จตุพร ทองอิ่ม (บรรณาธิการ). ตำราเภสัชกรครอบครัว.กรุงเทพฯ : สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) , 2557

– ธนรัตน์ สรวลเสน่ห์, ถนอมพงษ์ เสถียรลัคนา. อาการไม่พึงประสงค์ต่อระบบหัวใจและหลอดเลือดของยาต้านโรคจิต. วารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาล ๒๕๕๗; ๒๔ (๑): ๔๗-๖๔.

– ถนอมพงษ์ เสถียรลัคนา. Management of patients presenting with acute psychotic episodes of schizophrenia. ใน บุษบา จินดาวิจักษณ์, ธนรัตน์ สรวลเสน่ห์ (บรรณาธิการ). The flourishing pharmacy profession: continuity of pharmaceutical care. สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) 2556.

– ถนอมพงษ์ เสถียรลัคนา. Practical points antiepileptic drug interaction management. ใน ปรีชา มนทกานติกุล, ชาญกิจ พุฒิเลอพงศ์, วิชัย สันติมาลีวรกุล (บรรณาธิการ). Contemporary reviews in pharmacotherapy 2012. วิทยาลัยเภสัชบำบัดแห่งประเทศไทย สภาเภสัชกรรม, 2555.

– ถนอมพงษ์ เสถียรลัคนา. Role of Omega-3 Polyunsaturated Fatty Acid in Cardiovascular Disease. ใน สุวภาพ เตชะมหามณีรัตน์, เฉลิมศรี ภุมมางกูร (บรรณาธิการ). Pharmaceutical diagnosis 201: Fact and fiction of dietary supplement. กรุงเทพฯ: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 2554.

– ถนอมพงษ์ เสถียรลัคนา. Dual blockade of Renin angiotensin aldosterone system (RAAS) in Cardiovascular disease : Benefit or risk ? ใน เฉลิมศรี ภุมมางกูร, ปรีชา       มนทกานติกุล, สุวภาพ เตชะมหามณีรัตน์ (บรรณาธิการ). Pharmaceutical diagnosis 2010: diversity in pharmaceutical care. กรุงเทพฯ: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 2553.